สมาคมโรคติดเชื้อแห่งประเทศไทย (Infectious Disease บาคาร่าออนไลน์ Association of Thailand) ชี้ฉีดพ่นยาฆ่าเชื้อลงบนตัวบุคคลหรือสถานที่ ไม่ช่วยโควิด-19 ไม่ควรทำโดยเด็ดขาด และเป็นการสิ้นเปลืองโดยเปล่าประโยชน์ – แนะนำล้างมือ ในขณะนี้ ประเทศไทยมีผู้ป่วย COVID-19 ต่อเนื่องกันมาเป็นระยะเวลานานพอสมควร ด้วยความกังวลเรื่องของการปนเปื้อนเชื้อในสถานที่สาธารณะต่างๆ และที่พักอาศัย ตลอดจนในร่างกายของผู้ป่วย จึงเกิดการปฏิบัติที่หลากหลายด้วยความเข้าใจคลาดเคลื่อนว่าจะช่วยทำลายเชื้อ หรือลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อ เช่น การฉีดพ่นยาฆ่าเชื้อบนร่างกายของบุคคลทั่วไป ทั้งในลักษณะของการสร้างอุโมงค์ให้เดินผ่านหรือเดินผ่านไปตามทางเดินปกติ การฉีดพ่นน้ำยาฆ่าเชื้อบนถนนหรือสถานที่สาธารณะต่างๆ ตลอดจน ภายในอาคารบ้านเรือนที่พักอาศัยหรือร้านค้า
ทาง สมาคมโรคติดเชื้อแห่งประเทศไทย ขอเรียนชี้แจงว่า
1. การฉีดพ่นทำลายเชื้อบนร่างกายของบุคคล ไม่ช่วยเพิ่มความปลอดภัยต่อการติดเชื้อ เนื่องจากหากบุคคลมีเชื้อไวรัสอยู่ เชื้อจะอยู่ที่ทางเดินหายใจ ซึ่งการพ่นยาฆ่าเชื้อในลักษณะดังกล่าว จะไม่สามารถทำลายเชื้อได้ นอกจากนี้ ยาฆ่าเชื้อยังอาจจะเป็นอันตรายต่อคนได้ จึงไม่ควรทำโดยเด็ดขาด
การป้องกันการแพร่เชื้อที่ถูกต้อง คือ การรักษาระยะห่างระหว่างบุคคล การใช้หน้ากากอนามัยอย่างถูกต้อง และการรักษาความสะอาดของมือ
2. ไม่มีความจำเป็นที่จะต้องฉีดพ่นน้ำยาฆ่าเชื้อหรืออบฆ่าเชื้อด้วยสารเคมีต่างๆ บนนถนน สถานที่สาธารณะ หรืออาคารบ้านเรือนใดๆ ไม่ว่าในสถานที่นั้นจะมีผู้ป่วยโรคนี้หรือไม่ การปฏิบัติดังกล่าว
เป็นการสิ้นเปลืองโดยเปล่าประโยชน์ เพราะไม่ช่วยลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อแต่ประการใด นอกจากนี้ หากในบริเวณนั้นมีเสมหะหรือสารคัดหลั่งจากทางเดินหายใจของผู้ป่วยที่ยังไม่แห้ง การฉีดพ่นน้ำยา อาจทำให้เชื้อฟุ้งกระจายขึ้นมา เป็นอันตรายได้ หากจะทำความสะอาดในกรณีที่มีผู้พักอาศัยหรือผู้ใช้บริการป่วยเป็นโรคนี้ แนะนำให้ใช้วิธีเช็ดถูด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อ ตามรายละเอียดดังต่อไปนี้
สมาคมโรคติดเชื้อแห่งประเทศไทยออกหนังสือแถลงการณ์ เรื่อง การฉีดพ่นยาฆ่าเชื้อลงบนตัวบุคคลหรือสถานที่ เพื่อทําลายเชื้อ SAR-Cov-2 (เชื้อที่เป็นสาเหตุของ COVID-19)
โดยระบุว่า ในขณะนี้ ประเทศไทยมีผู้ป่วย COVID-19 ต่อเนื่องกัน ขณะเดียวกันเกิดความเข้าใจคลาดเคลื่อนว่าการฉีดน้ำยาฆ่าเชื้อลงบนร่างกาย หรือสถานที่ต่างๆจะช่วยทําลายเชื้อ ซึ่งพบเห็นในลักษณะของการสร้างอุโมงค์ให้เดินผ่าน หรือการฉีดพ่นน้ำยาฆ่าเชื้อบนถนนหรือสถานที่สาธารณะ ต่าง ๆ ตลอดจนภายในอาคารบ้านเรือนที่พักอาศัย ทางสมาคมโรคติดเชื้อแห่งประเทศไทย ชี้แจงว่า
การฉีดพ่นทําลายเชื้อบนร่างกายของบุคคล ไม่ช่วยเพิ่มความปลอดภัยต่อการติดเชื้อ เนื่องจากหากบุคคลมีเชื้อไวรัสอยู่ เชื้อจะอยู่ที่ทางเดินหายใจ ซึ่งการพ่นยาฆ่าเชื้อในลักษณะดังกล่าว จะไม่สามารถทําลายเชื้อได้ นอกจากนี้ ยาฆ่าเชื้อยังอาจจะเป็น อันตรายต่อคนได้ จึงไม่ควรทําโดยเด็ดขาด การป้องกันการแพร่เชื้อที่ถูกต้อง คือการรักษาระยะห่างระหว่างบุคคล การใช้หน้ากากอนามัยอย่างถูกต้อง และการรักษาความสะอาดของมือ
ไม่มีความจําเป็นที่จะต้องฉีดพ่นน้ำยาฆ่าเชื้อหรืออบฆ่าเชื้อด้วยสารเคมีต่างๆ บนถนน สถานที่สาธารณะ หรืออาคาร บ้านเรือนใด ๆ ไม่ว่าในสถานที่นั้นจะมีผู้ป่วยโรคนี้หรือไม่ การปฏิบัติดังกล่าว เป็นการสิ้นเปลืองโดยเปล่าประโยชน์ เพราะไม่ช่วยลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อแต่ประการใดนอกจากนี้ หากในบริเวณนั้นมีเสมหะหรือสารคัดหลั่งจากทางเดินหายใจของ ผู้ป่วยที่ยังไม่แห้ง การฉีดพ่นน้ำยา อาจทําให้เชื้อฟุ้งกระจายขึ้นมา เป็นอันตรายได้
หากจะทําความสะอาดในกรณีที่มีผู้พักอาศัย หรือผู้ใช้บริการป่วยเป็นโรคนี้ แนะนําให้ใช้วิธีเช็ดถูด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อแทน
คนร้ายบุกเดี่ยว ธกส. สาขา เฉลิมพระเกียรติร.9 ปล้นเงินแสน
วันที่ 13 เม.ย. พ.ต.ต.ผดุงเกียรติ ไม้น้อย สวป.สน. ประเวศ ขณะออกปฏิบัติหน้าที่ได้รับแจ้งเหตุ คนร้าย ใช้ปืนก่อเหตุชิงทรัพย์ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) สาขาย่อยเฉลิมพระเกียรติ ร.9 เลขที่ 83 ถนนเฉลิมพระเกียรติ ร.9 แขวงและ เขตประเวศ กทม. จึงรุดไปตรวจสอบที่เกิดเหตุพร้อม พล.ต.ท.ภัคพงศ์ พงษ์เภตรา ผบช.น. พล.ต.ต.อิทธิพล อัจฉริยะประดิษฐ์ รอง ผบช.น. พล.ต.ต.นิตินันท์ เพชรบรม รอง ผบช.น. พ.ต.อ.สมโภช สุวรรณจรัส ผกก.สน.ประเวศ พ.ต.ท.ชลินท์ อิ่มเอม รองผกก.สส.สน.ประเวศ และตำรวจฝ่ายสืบสวน สน.ประเวศ และตำรวจกองพิสูจน์หลักฐาน
ที่เกิดเหตุเป็นอาคารพาณิชย์ 1 คูหา สูง 3 ชั้น พบพนักงานของธนาคารยืนรอให้การด้วยอาการตื่น ตระหนก ตรวจสอบที่เกิดเหตุไม่พบร่องรอยการทุบหรือทำลายสิ่งของ นายชลาธิป วงศ์จำปา เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยของธนาคาร ให้การว่า ก่อนเกิดเหตุ ขณะฝนตกลงมาอย่างหนัก มีพนักงานประจำเคาน์เตอร์รับฝากเงิน 2 คน และประชาชนที่มาใช้บริการอีก 2-3 คน ช่วงฝนซาเห็นคนร้ายเป็นชาย สวมเสื้อยืดแขนสั้นสีดำ ใส่แมสก์ปิดปากสีดำ และสวมหมวกแก๊ปสีน้ำเงิน ปักอักษร Lee เข้ามาในธนาคารก่อนชักปืนสั้นตรงเข้าไปที่เคาน์เตอร์ ช่องที่ 1 บอกให้พนักงานและลูกค้าในธนาคารหมอบ ก่อนจะเอื้อมมือล้วงไปในลิ้นชักหยิบเงินสดแล้วหนีวิ่งขึ้นรถ จยย.ที่จอดติดเครื่องไว้ขับหลบหนี
พล.ต.ท.ภัคพงศ์กล่าวว่า เบื้องต้นพบคนร้ายเข้ามาก่อเหตุเพียงคนเดียว ขับรถ จยย.มาจอดหน้าธนาคาร จากนั้นใช้ปืนสั้น แบบไทยประดิษฐ์จี้บังคับพนักงานให้ส่งเงินให้ 106,000 บาท หลังก่อเหตุหลบหนีไปตามเส้นทางมุ่งหน้าลาดกระบัง เป็นเส้นทางที่ง่ายต่อการหลบหนี สำหรับรูปพรรณของคนร้ายเป็นชายอายุประมาณ 35-40 ปี ผมสั้น พูดสำเนียงภาคกลาง รูปร่างสันทัด ขี่รถ จยย.ฮอนด้า สีดำ ทะเบียน วทล 683 กรุงเทพมหานคร อยู่ระหว่างตรวจสอบเป็นแผ่นป้ายทะเบียนปลอมหรือไม่ คาดสามารถตามตัวได้เร็ววัน บาคาร่าออนไลน์